รางวัลชมเชย ปีการศึกษา 2566
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : KR2.1.1, KR2.1.3, KR2.1.4, KR2.2.1, KR2.2.2, KR2.4.1, KR2.4.2, KR2.4.4, KR2.5.1, KR2.5.2, KR2.5.3
การสร้างตัวตนบนเวทีวิชาการแก่
หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ด้วยผลงานนวัตกรรมวิจัย
ผู้จัดทำโครงการ
รศ .ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
วิทยาลัยเภสัชศาสตร์
หลักการและเหตุผล/ความสำคัญ/ความรู้ที่เป็นประเด็นสำคัญที่นำมาใช้
หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพมี theme ของตัวเองที่เป็นจุดเด่น จุดขายคือ “นวัตกรรมเทคโนโลยีที่
เข้าถึงได้” (accessible innovative biotechnology) บนหลักการที่เป็น appropriate technologyที่สามารถ
นำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา เป็น ทั้ง Problem-based research การวิจัยบนฐานของปัญหาและ output-based research การ วิจัยและพัฒนาบนฐานของผลได้ เพื่อสร้าง solution provider ให้กับภาคอุตสาหกรรม ที่ให้
ความสำคัญกับการผลิตน้อยแต่สร้างรายได้มาก หรือ less for more และมุ่งเป้าไปสู่การเพิ่มพูนทักษาในการเป็น
ผู้ประกอบการ หรือ entrepreneurial skills เป็นการบูรณาการ ฐานข้อมูล องค์ความรู้ และการประยุต์ใช้ ด้าน
การเกษตร เทคโนโลยีอาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ เข้าไว้ด้วยกัน
ความรู้ที่เป็นประเด็นสำคัญ
ที่นำมาใช้
1. กลุ่มวิชาเกษตร
2. กลุ่มวิชาจุลินทรีย์อุตสาหกรม
3. กลุ่มวิชาอาหารอนาคต
4. กลุ่มวิชาทักษะการเป็นผู้ บระกอบกา ร
ประเภทความรู้และที่มาความรู้
ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
ความรู้จากคลังความรู้ของเว็บไซต์ระบบการจัดการความรู้ KM Rangsit University
(http://lc.rsu.ac.th/km/Knowledgebase)
เจ้าของความรู้/สังกัด รศ .ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล และ ผศ .ดร .กฤตกร รำจวนเกียรติ /
หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตเทคโนโลยีชีวภาพ
อื่น ๆ (โปรด ระบุ) รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรทล.บ.นวัตกรรมเกษตร รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร
ทล.บ.ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร วท.บ.เทคโนโลยีอาหาร และรายวิชาต่าง ๆ
ในหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตเทคโนโลยีชีวภาพ
ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน ( Tacit Knowledge)
เจ้าของความรู้/สังกัด รศ .ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล /หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตเทคโนโลยีชีวภาพ
วิธีการดำเนินการ
1. วิธีการดำเนินการ
ดำเนินการตามขั้นตอน plan, do, check, act ดังนี้
1. การเชื่อมโยงการเรียนการ สอน ข้ามหลักสูตรโดยแลกเปลี่ยนคณาจารย์ต่างสังกัดในการสอนรายวิชานอก
หลักสูตรตนเอง
2. การฟอร์มทีมวิจัย และการทำวิจัยร่วม (collaboative research) ระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
3. การเปิดตัว ตอบรับการเป็นวิทยากรให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
4. การฟอร์ม ทีมวิทยากรจัดประชุมกลุ่มเฉพาะเรื่องร่วมกับ วช. โดยนักวิจัยต่างหลักสูตร
5. การเปิดตัวตอบรับการเป็นกรรมการตัดสินการประกวดให้กับกรมการข้าว
6. การเผยแพร่ผลงานร่วมระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
7. การเผยแพร่ผลงานนวัตกรรมวิจัยใน ทุก รูปแบบของผู้อำนวยการหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ
8. การผลักดันผลงานนวัตกรรมวิจัย ของนักศึกษา ป.โท และนักศึกษา ป .ตรี 4+1 ส่งประกวดนวัตกรรมใน
เวทีต่างๆ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท
9. การได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกของอาจารย์ในหลักสูตร
10. การขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และ การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร เลข อย.
เพื่อให้จำหน่ายเชิงพาณิชย์ ผลงานนวัตกรรมวิจัยของอาจารย์ในหลักสูตร
2. Prototype testing in an operational environment – DO
ผลการดำเนินการ การนำไปใช้ หรือการลงมือปฏิบัติจริง อุปสรรคหรือปัญหาในการทำงาน
1. การเชื่อมโยงการเรียนการสอนข้ามหลักสูตรโดยแลกเปลี่ยนคณาจารย์ต่างสังกัดในการสอนรายวิชานอกหลักสูตรตนเอง
1.1. วิชา CAB111 เป็นรายวิชาของหลักสูตรนวัตกรรมเกษตร ที่มีคณาจารย์ของวิทยาลัยร่วมสอนทั้งหมด 10 คน ประกอบด้วยคณาจารย์จากหลักสูตรนวัตกรรมเกษตรจำนวน 2 คน และคณาจารย์ของหลักสูตรเทคโนโลยีอาหารจำนวน 4 คน และคณาจารย์ของหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพจำนวน 2 คน ร่วมกับรองอธิการและอธิการวิทยาลัย
1.2. วิชา FTH101 Inter เป็นรายวิชาของหลักสูตรเทคโนโลยีอาหาร ที่เพิ่งเปิดสอนครั้งแรกสำหรับนักศึกษานานาชาติ ในปี 2566 เทอม 2 ที่มีคณาจารย์ของวิทยาลัยร่วมสอนทั้งหมด 7 คน ประกอบด้วยคณาจารย์ของหลักสูตรเทคโนโลยีอาหารจำนวน 4 คน คณาจารย์ของหลักสูตร ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร 1 คน และคณาจารย์ของหลักสูตร เทคโนโลยีชีวภาพจำนวน 1 คน ร่วมกับ คณบดีเทคโนโลยีอาหาร
2. การฟอร์มทีมวิจัย และการทำวิจัยร่วม (collaborative research) ระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
2.1. โครงการวิจัยเรื่อง นวัตกรรมไข่ต้มจากพืชซอสพะโล วีแกนเก็บได้นาน ทุนสนับสนุนจาก บพข . ปี 2566
จำนวนทุน 695,849 บาท
ประกอบด้วย รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล สังกัดหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ : หัวหน้าโครงการ
ผศ.ธฤต อภิสิทธิวงศ์ สังกัดหลักสูตร เทคโนโลยีอาหาร : นักวิจัยร่วม
2.2.โครงการวิจัยเรื่อง ผลของการใช้สารแบคเทอริโอซินรวมกับสารสกัดจากพืชที่มีศักยภาพในการยืดอายุการเก็บรักษาลูกชิ้นหมู และการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากร ของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ในช่วงการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำโดยใช้เทคนิค Microbial Community ทุนสนับสนุน จาก สถาบันวิจัย ม .รังสิต ปี 2565-2567
จำนวนทุน 290,000 บาท
ประกอบด้วย ผศ.ดร.กฤตพร รำจวนเกียรติ สังกัดหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ : หัวหน้าโครงการ
อ. ธนัชชา เกณฑ์ขุนทด สังกัดหลักสูตรนวัตกรรมเกษตร : นักวิจัยร่วม
2.3. โครงการวิจัยเรื่องการผลิตผงมอลต์สกัดจากข้าวไทยทางการค้า ทุนสนับสนุนจาก วช . ปี 2567 โครงการวิจัยเชิงกลยุทธ์ (Strategic Fund) ประเภทโครงการนวัตกรรม
จำนวนทุน 1,518,097 บาท
ประกอบด้วย รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล สังกัดหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ : หัวหน้าโครงการ
ดร.ณกมล จันทร์สม สังกัดหลักสูตรบริหารธุรกิจ : ที่ปรึกษาโครงการ
3.การตอบรับการเป็นวิทยากรให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
3.1. หนังสือเชิญ ไปเป็นวิทยากร จากวช.
วช.เชิญ รศ .ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล เป็นวิทยากรในการอบรม “เทคนิคการเขียนและการนำเสนอบทความ ผลงานวิจัยในกิจกรรม Thailand Reserch Expo & Symposium 2024” ในวันที่ 23 มีนาคม 2567
3.2. หนังสือเชิญไปเป็นวิทยากรจากวช.
วช.เชิญ รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล เป็นวิทยากรการบรรยายในงานวันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2566 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพให้แก่เยาวชนและนักประดิษฐ์รุ่นใหม่
3.3. หนังสือเชิญ ไปเป็นวิทยากร จาก วว.
วว. เชิญ รศ.ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล เป็นวิทยากรในการ เผยแพร่ผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชงพาณิชย์ เพื่อพัฒนาและยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหาร
3.4. หนังสือเชิญจากมหาวิทยาลัยเกษตรเสฉวน ประเทศจีน ในการนำเสนอผลงานวิจัย เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร
3.5. หนังสือเชิญจากมหาวิทยาลัยโซกะ ประเทศญี่ปุ่น ในการนำเสนอผลงานวิจัย การฉายรังสีอาหารจากพืช
3.6. หนังสือเชิญจาก TMA
TMA เชิญ นำเสนอผลงานนวัตกรรมในงาน TECHNOMART 2023 ครั้งที่ 1 วันที่ 31/5/66 และ ครั้งที่ 2วันที่ 29/6/2566
3.7. หนังสือเชิญจาก วช . เชิ ญให้นำผลงานไข่ต้มพืชสะดวกเก็บสะดวกกิน ร่วมงานแถลงข่าว Thailand Research Expo 2023 ในงานจัดแถลงข่าวของ วช . วันที่ 24/7/2566
3.8. หนังสือเชิญจากกรรมการผู้จัดการ SME Thailand ขอนำผลงาน Plantbase รศ .ยุพกนิษฐ์ ไปแสดงใน
ตลาดนัดนวัตกรรม ในงาน Plant Based, Superfood และนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหาร วันที่ 1-3/9/2566
3.9. หนังสือเชิญจาก Foodism Show 2023 เชิญ โดยบจก . อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น เชิญศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อผู้ประกอบการออกบูธ โชว์ผลงาน นวัตกรรมวิจัยอาหารแพลนต์เบส วันที่ 7-10 ธันวาคม 2566
4. การ ฟอร์ม ทีมวิทยากรจัดประชุมกลุ่มเฉพาะเรื่องร่วมกับ วช . โดยนักวิจัยต่างหลักสูตร นำโดยรศ .ยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล
4.1 งานมหกรรมวิจัยแห่งชาติปี 2566 หัวข้ออาหารอนาคตและกลุ่มงานวิจัยพร้อมใช้ ม.รังสิต
4.2 งานมหกรรมวิจัยแห่งชาติปี 2567หัวข้อมุ่งสู่ BCG ด้วยงานวิจัยวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยี อาหาร ม .รังสิต
5. การเป็นกรรมการตัดสินการประกวด ให้กับกรมการข้าว
6. การ เผยแพร่ ผลงานร่วมระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
6.1 การตีพิมพ์บทความวิจัยร่วมกันระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
6.1 Puangwerakul,Y, Soithongsuk, S.., Sajjabut, S. and Pewlong, W 2024 Effect of electron beam irradiation doses on quality and shelf life extension of non allergenic ready to eat plant based meat and egg JCST, 14
January April 2024 Article19 https doi or 10 59796 jcst V14N1 2024 19
6.2 Puangwerakul,Y, Soithongsuk, S.., Sajjabut, S. and Pewlong, W.., Loikaeo, T and Chaisakdanukul, C 2023.
Electron beam irradiation for shelf life extension of non allergen ready to eat plant based meat and egg.
Conference Handbook of Educational Internationalization Promotion Conference Inaugural Conference of the Food Security Education and Technology Innovation Alliance November 16 17, Chengdu, China
6.3 Loikaeo T.., Puangwerakul,Y.., Soithongsuk,S.., andApisittiwong,T 2024. Allergen free plant based fermented milk fortified with rice protein. Conference Handbook of Educational Internationalization Promotion Conference Inaugural Conference of the Food Security Education and Technology Innovation Alliance
November 16 17, Chengdu, China
6.4 Somsri, A.., Thongsen, N..,Saelao,P..,Lodthonglang, K..,Kenkhunthot, T.., Pilasomput, K.., Urairong, H and Rumjuankiat, K 2023). In vitro biocontrol potential of natural substance combination against microbial plant diseases. International Journal of AgriculturalTechnology. X X): XX XX
6.5 Sonhom, N.., Rumjuankiat, K.., Visessanguan, W.., Techo, S.., Vilaichone, R.., Janyaphisan, T.., Roytrakul, S.., Jaresitthikunchai, J and Woraprayote, W Antimicrobial
potency of a putatively novel bacteriocin from Lactiplantibacillus pentosus MRK2 3 against Helicobacter pylori.. Microbial Pathogenesis In submission
19
6.2 กการเผยแพร่ผลงานของทีมนักวิจัยารเผยแพร่ผลงานของทีมนักวิจัยแพลนต์เบสแพลนต์เบสของวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรในเวทีวิชาการของวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรในเวทีวิชาการร่วมกันร่วมกันระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตรระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร
6.2.1 เผยแพร่ผลเผยแพร่ผลงานภายนอก งานภายนอก :
6.2.1.1 การเสวนาผลงานวิจัยนวัตกรรมอาหารแพลนต์เบสพร้อมใช้ จัดโดย วชการเสวนาผลงานวิจัยนวัตกรรมอาหารแพลนต์เบสพร้อมใช้ จัดโดย วช. ณ เวที ณ เวที High light Stage งานมหกรรมวิจัยแห่งชาติวันที่ งานมหกรรมวิจัยแห่งชาติวันที่ 7/8/2566
6.2.1.2 การ เข้าร่วมนำเสนอผลงานวิจัย ของ คณา จารย์ วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร นำโดย
ท่านอธิการวิทยาลัยฯ ศ .ดร .พงษ์ศักดิ์ อังก สิ ทธิ์ เพื่อเผยแพร่ผลงานของอาจารย์ หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ
และหลักสูตรเทคโนโลยีอาหาร ผ่านระบบออนไลน์ จัดโดย The Organizing Committee of China-ASEAN Education Cooperation Week ประเทศจีน วันที่ Aug28-Sep2,2023
6.2.2 เผยแพร่ผล งานภายใน
6.2.2.1 การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบ่าย ในงานวันเกษตร ครั้งที่ 8 จัดโดยวิทยาลัย ฯ วันที่ 25/1/2567
6.2.2.1 การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบ่าย ในงานวันเกษตร ครั้งที่ 7 จัดโดยวิทยาลัย ฯ วันที่ 27/1/2566
7. การเผยแพร่ผลงานนวัตกรรมวิจัย ใน ทุก รูปแบบ ของผู้อำนวยการหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ
7.1 การ เผยแพร่ผลงานนวัตกรรมวิจัย ผ่านช่องทาง OFF LINE
นอกจากนี้
ผู้อำนวยการ หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพยัง ได้รับเชิญจากรายการ SME มีดีให้ดู ทาง ช่อง 5 เพื่อ
ร่วม ประชุม ถึงแนวทางการผลักดันสินค้า SME ในวันที่ 14 มีนาคม 2567 และ ได้รับเชิญจาก วช . เพื่อ ออกบูธจัด
แสดงสินค้านวัตกรรมวิจัยเพื่อการทดสอบตลาดเพิ่มเติมอีกสองงานคือ THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 (28 พ .ค .-1มิ .ย .67) และ ได้รับเชิญจาก FOODISM SHOW 2024 (30 สค .-1 ก .ย .67) โดยตอบรับพื้นที่บูธเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
7.2 การ เผยแพร่ผลงานนวัตกรรมวิจัย ผ่านช่องทาง ON LINE
7.2.1 บทสัมภาษณ์ลงเวปไซต์และเฟสบุคเทคโนโลยีชาวบ้านและเส้นทางเศรษฐี
7.2.2 YouTube UpSkill Thailand 2023 จักรวาลสร้างอาชีพ
7.2.3 You Tube สร้างแบรนด์แพลนต์เบสแบบไม่ต้องเริ่มจากศูนย์
7.2.4 YouTube ช่อง 7 ไข่ต้มพืช
7.2.5 You tube ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต
7.2.6 สัมภาษณ์สดรายการวิทยุ FM 92.5วิทยาศาสตร์น่ารู้สุดสัปดาห์ วันที่ 11 ตุลมคม 2566 เวลา 10.30-12.00 น.
7.2.7 กรุงเทพธุรกิจ https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/food/1052805 ผลงานวิจัย อาหารแพลนต์เบส ม .รังสิต
7.2.8 TIKTOK ผลงานวิจัย อาหารแพลนต์เบส ม .รังสิต
7.2.9 รายการ 168 Hours ช่อง 3 ผลงานวิจัย อาหารแพลนต์เบส ม .รังสิต ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติปี 2566
7.2.10 https://www.bangkokbiznews.com/tech/innovation/1111557
8. การผลักดันผลงานนวัตกรรมวิจัยส่งประกวดนวัตกรรม วิจัย ในเวทีต่างๆ ระดับปริญญาตรีและปริญญาโท
ทั้งระดับนานาชาติและระดับชาติ
8.1 การประกวดระดับนานานาชาติ การแข่งขัน VITAFOOD ASIA 2024 จัดโดย Informa market วันที่ 19-21/9/2567
8.1.1 ชื่อผลงาน ผง มอลต์สกัดจากข้าว ไทย ไร้สารก่อภูมิแพ้ โดยนักศึกษาป .โท นส .เหมือนฝัน เชียงกา
ผลการแข่งขัน เข้ารอบชิงชนะเลิศ จัดแสดงผลงานในงาน VITAFOOD ASIA2024 ศูนย์ประชุมไบเทค
8.1.2 ชื่อผลงาน โปรตีนข้าวไทยไร้สารก่อภูมิแพ้ โดยนศ .4+1 นาย ตฤน และ คณะ
ผลการแข่งขัน โล่รางวัลชมเชย ประกาศนียบัตรและเงินรางวัล 5,000 บาท
8.2 การประกวดระดับชาติ การแข่งขัน I-NEW GEN AWARD ASIA 2024 จัดโดย วช . วันที่ 2-6/2/2567
8.2.1 ชื่อผลงาน ผง มอลต์สกัดจากข้าวไทย โดยนักศึกษา ป .โท น .ส .เหมือนฝัน เชียงกาและคณะ ผลการแข่งขัน รางวัลเหรียญทอง พร้อมประกาศนียบัตร
8.2.2 ชื่อผลงาน เพนนีโอโปร :โปรตีนข้าวไทยไร้สารก่อภูมิแพ้ โดยนศ .4+1 นาย ตฤน และคณะ
ผลการแข่งขัน รางวัลเหรียญทอง พร้อมประกาศนียบัตร
10. การ ขอ การ รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร เลข อย เพื่อให้จำหน่ายเชิงพาณิชย์
10.1 ผลิตภัณฑ์ ไข่ผงจากพืช จากโครงการ ทุนวิจัย สวก @วว . เลขที่สัญญา CRP6605032100
10.2 ผลิตภัณฑ์ไข่ต้มจากพืชจากโครงการ ทุนวิจัย สวก @มก . เลขที่สัญญา CRP6605031990
10.3 ผลิตภัณฑ์ผงโปรตีนข้าวชนิดใสจากโครงการ ทุนวิจัย สวก @มก . เลขที่สัญญา CRP6505031990
3. Proven through successful mission operation, Objectives and Key Results for Knowledge Management – CHECK
การตรวจสอบผลการดำเนินการ
การ นำเสนอประสบการณ์การนำไปใช้ สรุปและ อภิปราย ผล บทสรุปความรู้
หรือความรู้ที่ค้นพบใหม่
ผลจากการดำเนินงานในปี 2566 ตั้งแต่ การเชื่อมโยงการเรียนการสอนข้ามหลักสูตรโดยแลกเปลี่ยน คณาจารย์ต่างสังกัดในการสอนรายวิชานอกหลักสูตรตนเอง การฟอร์มทีมวิจัย และการทำวิจัยร่วม
(collaboative research) ระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร การเปิดตัวตอบรับการเป็นวิทยากรให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การฟอร์มทีมวิทยากรจัดประชุมกลุ่มเฉพาะเรื่องร่วมกับ วช . โดยนักวิจัยต่างหลักสูตรทำให้มีจำนวนการเผยแพร่ผลงานร่วมระหว่างคณาจารย์ต่างหลักสูตร ทำได้อย่างต่อเนื่องและสนุก รวมถึง การเผยแพร่ผลงานนวัตกรรมวิจัยในทุกรูปแบบของผู้อำนวยการหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ที่จะนำไปสู่ การผลักดันผลงานนวัตกรรมวิจัยของนักศึกษา ป .โท และนักศึกษา ป .ตรี 4+1 ให้สามารถ ส่งประกวด ผลงาน นวัตกรรมในเวทีต่างๆ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ทำได้ ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกขอ เพื่อพัฒนาต่อยอด และนำไปสู่ การขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาและ การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร เลข อย เพื่อให้จำหน่ายเชิงพาณิชย์ ผลงานนวัตกรรมวิจัย ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากสถาบันอื่น ๆ
ข้อเสนอแนะในการดำเนินการในอนาคต หรือการดำเนินการเพื่อสามารถนำไปสู่การเป็น Good Practice
ข้อเสนอแนะในการดำเนินการในอนาคต หรือการดำเนินการ เพื่อสามารถนำไปสู่การเป็น Good Practice
4.1 ต้องพัฒนางานวิจัยให้จบที่ TRL 5-6 ให้ได้ เพื่อโอกาสในการขอทุนจากแหล่งทุนภายนอก ในวงเงินที่สูงกว่า 500,000 แสน
4.2 วางแผนร่วมกับอาจารย์สายวิจัยที่มีกันอยู่ 2 คนในหลักสูตรเพื่อสลับกันเป็นหัวหน้าโครงการ ด้วยวิธีนี้จะทำให้การลงทะเบียนผ่านระบบ nriis สามารถขอสูงสุดได้ถึง 6 โครงการต่อปี เพื่อนำเงินมาเป็นค่าช่วยเหลือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
4.3 ตอบรับทุกคำเชิญจากหน่วยงานภายนอก ในการเผยแพร่บทบาทของงานวิจัยให้เป็นที่รู้จัก
4.4 เสริมความเข้มแข็งของงานวิจัยเพิ่มการขยายผลทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มโอกาสในการตีพิมพ์วารสาร high impact factor
4.5 สร้างเครือข่ายวิจัย และเร่งผลิตผลงานตีพิมพ์เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการระดับสูงขึ้น