รางวัลดีเด่น ปีการศึกษา 2567

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : KR 1.2.1, 5.2.1

เรียนรู้ผ่านกระบวน Active Learning สร้างชื่อเสียงไกลสู่ระดับชาติและนานาชาติ

ผู้จัดทำโครงการ​

ผศ.ดร.สมชาย เล็กเจริญ ผศ.ดร.วศิณ ชูประยูร
ผศ.ดร.ภาคภูมิ ชัยศิริประเสริฐ ผศ.ดร.ไววิทย์ จันทร์วิเมลือง
ผศ.ดร.วุฒิพงษ์ ชินศรี ผศ.วิไลลักษณ์ ตรีพืช ผศ.ดร.กานต์ ยงศิริวิทย์ ดร. ปภังกร พิชญะธนกร อ.สงบ ศศิพงศ์พรรณ
และนางสาวสุรัตนา ขันธสอน

วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี

หลักการและเหตุผล/ความสำคัญ/ความรู้ที่เป็นประเด็นสำคัญที่นำมาใช้​

มหาวิทยาลัยรังสิตมุงเนนการพัฒนาการเรียนการสอนตามแนวทาง โดยใหนักศึกษาเปนศูนยกลางของการ
เรียนรู และเนนการพัฒนาทักษะผานกิจกรรมและการปฏิบัติจริง แทนการเรียนรูเชิงทฤษฎีเพียงอยางเดียว ความสําคัญ
ของโครงการจึงการเปลี่ยนผานการเรียนรูจาก Lecture-based Learning ไปสู Active Learning ผานกิจกรรมที่สงเสริม
การใชกระบวนการคิดเชิงวิจัย เชน Problem-based Learning, Project-based Learning และ Service Learning จะ
ชวยเพิ่มศักยภาพของนักศึกษาใหสามารถแขงขันในระดับชาติและนานาชาติไดโดยมีประเด็นปญหา คือ ปจจุบัน
นักศึกษาสวนใหญขาดแรงบันดาลใจ ขาดประสบการณในการประยุกตใชความรูในเชิงปฏิบัติและการสรางผลงานที่
สามารถแขงขันไดในระดับชาติและนานาชาติจึงไดเกิดขั้นตอนกระบวนการใน รูปที่ 1 กระบวนการวางแผนการพัฒนา
นักศึกษา ชั้นปที่ 1, 2 และ 3 ตั้งแตนักศึกษาเรียนเขามาศึกษาในชั้นปที่ 1 อาจารยจะปูความรูพื้นฐานพรอมไปกับการ
สรางแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพผานกิจกรรมในหองเรียน เริ่มใหสรางสรรคแนวคิดโครงการนวัตกรรมดวย
กระบวนการวิจัยเบื้องตน ชั้นปที่ 2 พัฒนาโครงการนวัตกรรมผานกระบวนการวิจัยที่ตองอานเอกสารวิชาการคนหา
แนวคิดเชิงวิชาการพัฒนาโครงการสงเขารวมการแขงขันระดับชาติ และ/หรือ ใหนําเสนอโครงการนวัตกรรมตอนองป 1
ในงานปฐมนิเทศนักศึกษารุนตอไป และนักเรียนมัธยมในวัน RSU Open House ชั้นปที่3 เริ่มเขาสูกระบวนการวิจัยใน
การอาน Research Reference เพื่อนํามาคิด วิเคราะห สรุปประเด็นสรางสรรคงานวิจัยของตนเองเพื่อตีพิมพในงาน
ประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติรวมกับอาจารยที่ปรึกษา ชวยสรางชื่อเสียงใหเปนที่รูจักและเปนที่ยอมรับ

รูปที่ 1 กระบวนการวางแผนการสอนนักศึกษา ชั้นปที่ 1, 2 และ 3

ความรู้ที่เป็นประเด็นสำคัญที่นำมาใช้ 

  • การการเรียนรูเชิงปฏิบัติ Active Learning ผาน Problem-based Learning, Project-based
    Learning, Service Learning ภายใตแนวคิดที่เนนผลลัพธของการเรียนรู
  • การเรียนรูเชิงปฏิบัติที่นําไปสูการพัฒนาทักษะการสรางสรรคนวัตกรรมและงานวิจัย
  • การเสริมสรางแรงบันดาลใจ ความสามารถในการแขงขันของนักศึกษาในเวทีระดับชาติและนานาชาติ

ประเภทความรู้และที่มาความรู้

ความรูที่ฝงลึกอยูในตัวคน (Tacit Knowledge)

  • เจาของความรู/สังกัด อาจารย ผูชวยอาจารย และเจาหนาที่ ประจําสาขาวิชานวัตกรรมดิจิทัล

วิธีการดำเนินการ

วิธีการดําเนินการ

รูปที่ 2 แสดงวิธีการดําเนินงานกับนักศึกษา ชั้นปที่ 1, 2 และ 3
ที่มา: สรางภาพดวย Chat GPT

ปที่ 1: Foundation and Inspiration
การปูพื้นฐานและสรางแรงบันดาลใจผานการเรียนรูแบบ Project-based Learning & Active Learning
• การใหความรูพื้นฐานผานวิชาพื้นฐานในชั้นปที่ 1 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร, ระบบ
สารสนเทศเบื้องตน, กระบวนการธุรกิจสําหรับระบบสารสนเทศ, วิทยาศาสตรและธุรกิจ
นวัตกรรมรายใหม, การคิดและการเขียนเชิงสรางสรรค, การออกแบบและพัฒนาเว็บ,
คณิตศาสตรพื้นฐานสําหรับการลงทุน, การออกแบบอินโฟกราฟก, พื้นฐานการออกแบบกราฟก
• นักศึกษาไดรับมอบหมายใหนําเสนอแนวคิดโครงงานขนาดเล็กที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาของตนเอง
เชน แนวคิดการพัฒนาแอปพลิเคชันตนแบบ หรือการออกแบบแนวคิดผลิตภัณฑใหม
• แนวคิดโครงการมาจาการใช Problem-based Learning (PBL) เพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหและ
การแกปญหาอยางเปนระบบ
• เชิญผูเชี่ยวชาญหรือศิษยเกามาเปนวิทยากรเพื่อสรางแรงบันดาลใจและแชรประสบการณใน
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับสาขา
• พัฒนาผลงานผานกระบวนการ Design Thinking ในการทํางานเปนทีมผานกิจกรรม
Collaborative Learning และ Workshop ที่เนนการปฏิบัติจริงภายในชั้นเรียน

ปที่ 2: Apply to Innovation Project and Competition
สงเสริมตอยอดโครงการในหองเรียนสูการพัฒนาโครงงานนวัตกรรมและสงเขารวมการแขงขันใน
ระดับชาติ
• การใหความรูผานวิชาชีพในชั้นปที่ 2 การใหความรูเชิงลึกและฝกปฏิบัติแบบครอบคลุมทุกดาน
เชน การวิเคราะหและการออกแบบระบบสารสนเทศ การสื่อสารขอมูลและเครือขาย
คอมพิวเตอรระบบฐานขอมูล การพัฒนาโปรแกรมประยุกตบนเว็บ การจัดการระบบฐานขอมูล
สําหรับองคกร การพัฒนาโปรแกรมประยุกตสําหรับใชกับอุปกรณเคลื่อนที่ ความมั่นคงระบบ
สารสนเทศ อินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง การบริหารโครงการระบบสารสนเทศ
• นักศึกษาไดรับคําแนะนําในการพัฒนาโครงงานในรายวิชาที่เรียนผานกระบวนการ Design
Thinking ที่เพิ่มกระบวนการวิจัยเบื้องตนมาดําเนินงาน อานทบทวนงานอางอิงทางวิชาการ
ปรับปรุงและทดลองโครงการ
• คณาจารยชวยใหคําปรึกษาในการพัฒนาโครงงานดวยความรูชั้นปที่ 2 และเตรียมแผนงาน การ
พัฒนาโมเดลธุรกิจ ฝกซอมการนําเสนอผลงาน มีการจัด Mock Pitching Sessions เพื่อใหฝก
นําเสนอและรับคําติชมกอนลงสนามจริงในการแขงขัน

ปที่ 3: Senior Project & National or International Research
สรางสรรคงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พรอมนําเสนอผลงานวิชาการ
• การใชกระบวนการวิจัย ผานวิชาในชั้นปที่ 3 เชน วิทยาการวิจัยดานนวัตกรรมดิจิทัล, ปริญญา
นิพนธ, วิชาชีพเลือก เพื่อเตรียมความพรอมในการทําวิจัย
• นักศึกษาระดมไอเดียและเลือกหัวขอวิจัยที่มีศักยภาพ โดยไดรับคําแนะนําจากอาจารยที่ปรึกษา
• นักศึกษาทํางานเปนรายบุคคล และหรือเปนกลุมวิจัย โดยมีการนําเสนอความคืบหนากับอาจารย
ที่ปรึกษาเปนระยะ
• งานที่เขาเกณฑสงผลงานวิจัยเขารวมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงการ
ตีพิมพในวารสารทางวิชาการ
• นําเสนอใหเสนอเปนรายงานวิทยานิพนธ สําหรับงานที่ไมไดสงผลงานวิจัยเขารวมการประชุม
วิชาการ

2.Prototype testing in an operational environment – DO 

ผลการดำเนินการ การนำไปใช้ หรือการลงมือปฏิบัติจริง อุปสรรคหรือปัญหาในการทำงาน

ผลการดําเนินงานนักศึกษา ชั้นปีที่ 1
ปีที่ 1: Foundation and Inspiration

บรรยากาศต้อนรับน้องใหม่ ใครเป็นใครไปรู้จักกันให้มากขึ้นในช่วงพบปะทีมอาจารย์ รุ่นพี่ พร้อมกิจกรรมต่อเนื่องที่เตรียมไว้ให้น้อง ๆ โดยเฉพาะเลยค่ะ

กิจกรรมสร้างแรงบันดาลใจให้กับน้องๆ โดยรุ่นพี่ศิษย์เก่าของเรา ขอขอบคุณ พี่ต้า นายจิรายุส ปรีชาเดช มาให้คําแนะนําต่างๆ กับ น้องๆ พร้อมถ่ายทอดประสบการณ์ที่มีประโยชน์มากมาย

นักศึกษาลงพื้นที่บริการวิชาการแก่ชุมชน ในโครงการยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น สอนการทําสื่อดิจิทัล และความรู้ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยี การไลฟ์ สด ขายของออนไลน์ พร้อมมอบอุปกรณ์ไลฟ์ สด ให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมณีจินดา By ครูนก จ.ปทุมธานี

นักศึกษาสาขานวัตกรรมดิจิทัล ได้รับทุนการสนับสนุนจากทางธนาคารออมสิน ในกิจกรรม Smart Start Idea by GSB Startup GSB Micropreneur Academy ประจําปี 2567 ระดับมหาวิทยาลัย

  • รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ทีม Mica ได้รับทุนสนับสนุน จํานวน 3,000 บาท
  • รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ทีม Jajitech ได้รับทุนสนับสนุน จํานวน 2,000 บาท

สรางแรงบันดาลใจนํานักศึกษาดูงานที่ Shibaura Institute of Technology ประเทศญี่ปุน

ผลการดําเนินงานนักศึกษา ชั้นปีที่ 2
ปีที่ 2: Apply to Innovation Project and Competition

นําเสนอผลงาน โครงงาน นวัตกรรม ของชั้นปีที่ 2 ในงาน DIT Innovation & JOB Fairs ผู้เข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ผู้ประกอบการ ผู้ปกครอง นักเรียนมัธยมศึกษา

นางสาว จูเลีย ปิตุนกิน นางสาว สุเมธินี สุทธาเวศ นางสาว วัชราภรณ์ เทียนกระจ่างร่วมเป็นสมาชิกทีมรังสิตสามัคคี พร้อมด้วยคณะเทคโนโลยีอาหาร จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาหารจากพืชปลอดภัย ได้รับรางวัลชนะเลิศ Best of the best ระดับประเทศ ประเภท คิดดีในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ประจําปี 2566

นักศึกษาสาขานวัตกรรมดิจิทัล ได้พัฒนานวัตกรรม Wewy (เครื่องรดน้ําต้นไม้อัตโนมัติ) ที่ผ่านการอนุมัติทุนสนับสนุนจากทาง ธนาคารออมสิน ในโครงการ Smart Startup Company by GSB Startup เป็นจํานวนเงินทั้งสิ้น 200,000 บาท

ผลการดําเนินงานนักศึกษา ชั้นปีที่ 3
ปีที่ 3: Senior Project & National or International Research

นักศึกษาปริญญาตรีส่งผลงานตีพิมพ์งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 2024 8thInternational Conference on Information Technology (InCIT), Chonburi, Thailand, 2024, doi: 10.1109/InCIT63192.2024

นักศึกษาปริญญาตรีสงผลงานตีพิมพงานประชุมวิชาการระดับชาติ
2024 16th National Conference on Information Technology (NCIT), Chonburi, Thailand, 2024,

Shibaura Institute of Technology Student Exchange & Research Exchange in Japan

ภายหลังสําเร็จการศึกษา ได้ทํางานงานและ/หรือได้รับทุนการศึกษาต่อ ทํางานเป็นผู้ช่วยนักวิจัยและได้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาโท

ไดทํางานในบริษัทที่มีชื่อเสียง

3. Proven through successful mission operation, Objectives and Key Results for Knowledge Management – CHECK

• นักศึกษาทั้งชั้นปี แบ่งเป็นกลุ่มจํานวน 6 กลุ่ม มีความรู้และประสบการณ์ การส่งผลงานเข้าร่วมการประกวดแข่งขัน 100 % ได้รับรางวัล 2 กลุ่ม
• พัฒนาระบบที่ปรึกษาทางวิชาการและเครือข่ายความร่วมมือในองค์กร รวมถึงระดับชาติและนานาชาติ เพื่อส่งเสริมคุณภาพงานวิจัย เช่น Shibaura Institute of Technology, มูลนิธิเอิร์ทซีฟาวน์เดชั่น, บริษัทดูดีพ จํากัด, PPT Digital
• การนําไปใช้ หรือการลงมือปฏิบัติจริง พบว่าการใช้Active Learning ช่วยเพิ่มความสามารถในการพัฒนางานของนักศึกษาได้อย่างมีนัยสําคัญ ตามผลงานในหัวข้อ 2 ผลการดําเนินการ การนําไปใช้ หรือการลงมือปฏิบัติจริง

ข้อเสนอแนะในการดำเนินการในอนาคต หรือการดำเนินการเพื่อสามารถนำไปสู่การเป็น Good Practice

ปัจจัยสําคัญที่ทําให้การดําเนินการครั้งนี้ประสบความสําเร็จ

  • การใช้แนวทาง Outcome-Based Education (OBE) ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
  • การสนับสนุนจากคณาจารย์และผู้บริหารที่ช่วยให้การพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัยดําเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง
  • การบูรณาการการเรียนรู้เชิงปฏิบัติเข้ากับโครงงานและการวิจัยเพื่อเสริมสร้างทักษะและความสามารถของนักศึกษา
  • กการมีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ทั้งระดับชาติและนานาชาติที่ช่วยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีเวทีแสดงผลงาน
    • ระบบที่ปรึกษาทางวิชาการและการให้คําแนะนําเชิงลึกที่ช่วยพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของนักศึกษา

ข้อเสนอแนะในการดําเนินการในอนาคต

  • ควรเพิ่มการฝึกอบรมการวิจัยและการเขียนเชิงวิชาการ ให้แก่นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  • สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานระดับชาติและนานาชาติ เพื่อให้มีเวทีเผยแพร่ผลงานมากขึ้น
  • จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุน การพัฒนานวัตกรรมและการตีพิมพ์งานวิจัย
  • จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อเป็นศูนย์กลางการสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการ
  • ใช้แนวทางการประเมินผลแบบต่อเนื่อง (Continuous Assessment) เพื่อวัดผลลัพธ์ของการดําเนินงาน และปรับปรุงกลยุทธ์ตามผลลัพธ์ที่ได้รับ
  • พัฒนาระบบศิษย์เก่า เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ทํางานให้กับศิษย์ปัจจุบัน
  • ส่งเสริมให้มีMentorship Program ระหว่าง อาจารย์ ศิษย์เก่าและนักศึกษาปัจจุบัน เพื่อพัฒนาแนวทางการทํางานวิจัยที่มีคุณภาพ
Scroll to Top